วันอาทิตย์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

การจัดการความรู้ระดับบุคคล, ครัวเรือน และกลุ่ม/องค์กร

            นายอรรถพล  ไชยมาลา
                  รหัสนักศึกษา 575030099-9
การจัดการความรู้ระดับบุคคล
สถานะ/ตำแหน่งของบุคคล  นักศึกษาปริญญาโท/นักวิชาการเกษตร

1. เรื่อง/ประเด็นความรู้ที่บุคคลที่มีสถานะ/ตำแหน่งข้างต้นต้องจัดการ (ทั้งเรื่องส่วนตัว ครอบครัว สังคม และงานในหน้าที่)

เรื่องส่วนตัว
ครอบครัว
สังคม
งานในหน้าที่
- การเรียน
- การจัดสรรเวลาให้กับครอบครัว
- การปรับตัว
- ทำงานในหน้าที่ใหสำเร็จตามเป้าหมาย
- การแต่งการ สุภาพ เรียบร้อย ถูกกาลเทศะ
- ทำกิจกรรมกับครอบครัวในวันหยุด
- การทำนุบำรุงประเพณี รักษาวัฒนธรรมไทย
- ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต
- การใช้เงิน ประหยัด      จัดทำบัญชีรายรับรายจ่าย
- จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่ายของครอบครัว
- เป็นพลเมืองที่ดี ปฏิบัติตามกฎระเบียบของบ้านเมือง
- การแก้ไขปัญหาในหน้าที่
- การคบเพื่อน
- ให้คำปรึกษา
- กิจกรรมสาธารณประโยชน์
- พัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถ
- การดูแลสุขภาพร่างกายให้สมบูรณ์ แข็งแรง โดยการออกกำลังกาย
-วางแผนชีวิตในอนาคต
- การตดต่อและสร้างเครือข่ายกับคนในชุมชน
- ฝึกฝนจนสามารถเป็นวิทยากรที่ดี และสามารถถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีใหม่ให้แก่เกษตรกรได้

2. บุคคลที่มีสถานะ/ตำแหน่งข้างต้นจะมีแนวทาง/วิธีการจัดการความรู้สำคัญ 5 เรื่อง/ประเด็นอย่างไร (ผู้เรียนกำหนดเองว่า 5 เรื่อง/ประเด็น มีอะไรบ้าง)

เรื่อง/ประเด็นความรู้ที่สำคัญ
แนวทาง/วิธีการจัดการความรู้
1) การจัดเวลา
ให้เวลากับคนในครอบครัวมากๆ วางกรอบปฏิทินชีวิต ให้สำเร็จตามเป้าหมาย
2) สุขภาพ
ออกกำลังการอย่างน้อยอาทิตย์ละ 2-3 วัน หรือวันละ 1-2 ชั่วโมง
งดสุราสิ่งเสพติดให้โทษ ที่ไม่ดีต่อสุขภาพ
3) การเงิน
ประหยัด มีวินัยในการใช้เงิน จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
4) การปฏิบัติหน้าที่
มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ทำงานให้ประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ของงาน ทำงานอย่างสุจริต ไม่คดโกง รักษาผลประโยชน์ทางราชการ  ฝึกฝนและศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ปฏิบัติตามกฎระเบียบ มีวินัย และตรงต่อเวลา
5)การพัฒนาตัวเอง
ทำให้ตัวเองเป็นน้ำไม้เต็มแก้ว พัฒนาความรู้และทักษะสม่ำเสมอ ตลอดเวลา



การจัดการความรู้ระดับครัวเรือน
อาชีพหลักของครัวเรือน  ครัวเรือนการทอผ้าไหม

1. เรื่อง/ประเด็นความรู้ที่ครัวเรือน (หัวหน้าครัวเรือน) ที่มีอาชีพหลักข้างต้นต้องจัดการ (ทั้งเรื่องการจัดการ การประกอบอาชีพ และสังคม)

ครัวเรือน
การประกอบอาชีพ
สังคม
การทำรายรับ-รายจ่ายในครัวเรือน
- การถ่ายทอดความรู้ และการเผยแพร่ข้อมูล
แลกเปลี่ยนถ่ายทอดข้อมูล
การหาข้อมูลประกอบ
การวางแผนฤดูการผลิต และเลี้ยวตัวไหม
เผยแพร่ความรู้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่และเกษตรกรในพื้นที่ใกล้เคียงหรือผู้ที่สนใจ
- ทักษะความรู้เดิมที่นำมาใช้
 การสาวไหม
สร้างเครือข่ายและช่องทางการจำหน่าย
- การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการผลิต
การมัดหมี่
- เป็นที่ปรึกษาด้านการเกษตร และด้านการพัฒนาที่ดิน
วางแผนครอบครัว
การขาย


2. หัวหน้าครัวเรือนที่มีอาชีพหลักข้างต้นจะมีแนวทาง/วิธีการจัดการความรู้สำคัญ 5 เรื่อง/ประเด็นอย่างไร
   (ผู้เรียนกำหนดเองว่า 5 เรื่อง/ประเด็น มีอะไรบ้าง)

เรื่อง/ประเด็นความรู้ที่สำคัญ
แนวทาง/วิธีการจัดการความรู้
การวางผนการผลิต
ศึกษาตลาดแหล่งข้อมูล รวบรวมข้อมูลจากแหล่วงต่างๆ และแก้ไปจากประสบการณ์ที่มี
การเงิน
การจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย สอนให้ทุกคนประหยัด และออมเงินไว้ใช้ในยามจำเป็น วางแผนการใช้จ่ายเงิน
การเลี้ยงตัวไหม
จดจำ ศึกษาการวางแผนการเลี้ยงไหม ถ่ายทอดความรู้ และเป็นที่ปรึกษาแก่คนที่สนใจ ช่วยเหลือข้อมูลและต้องการความช่วยเหลือในด้านต่างๆ ไม่เฉพาะด้านเกษตร
การสาวไหม
มีกิจกรรมให้เรียนรู้และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปฏิบัติเองได้
ปลูกจิตสำนึกให้ทุกคนสนใจด้านการสาวไหม ให้สามารถนำภูมิปัญญาและนำของที่มีในท้องถิ่นมาใช้ร่วมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้
การย้อมสีผ้า/การมัดหมี่
การรวบรวมลวดลายจากบรรพบุรุษ  และการพัฒนาจากลวยลายเดิมพร้อมทั้งถ่ายทอดสู่คนรุ่นต่อไป



การจัดการความรู้ระดับกลุ่ม/องค์กร
สถานะ/ตำแหน่งของบุคคล   เกษตรกรสมาชิกทอผ้าไหม

1. เรื่อง/ประเด็นความรู้ที่กลุ่ม/องค์กร (ประธาน/กรรมการกลุ่ม/องค์กร) ข้างต้นต้องจัดการ (ทั้งเรื่องการจัดการการกลุ่ม/องค์กร กิจกรรมสร้างรายได้ การประสานงานกับหน่วยงาน/องค์กรอื่น)

การจัดการกลุ่ม/องค์กร
กิจกรรมสร้างรายได้
การประสานงานกับหน่วยงาน
/องค์กรอื่น
- การปฏิบัติงานตามหน้าที่และปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคบของกลุ่ม
- หาสิ่งทดแทนสารเคมี โดยการหาจากธรรมชาติเข้ามาทดแทน
- การขอวิทยากรและขอการสนับสนุนปัจจัยการผลิต
- การกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับในการปฏิบัติงาน
- การจำหน่ายตามแหล่งที่เหมาะสมกับความต้องการ  
- การติดต่อสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
- การมีส่วนร่วมของสมาชิก เช่น การแสดงความคิดเห็น  การประชุม เป็นต้น

- การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการทอผ้า ให้ทราบโดยทั่วกับโดยอาศัยแหล่งข้อมูลต่างๆ
- การสร้างความเข้มแข็งของกลุ่ม

- การติดต่อขอรับความรู้ใหม่ๆ
- สร้างความสามัคคีภายในกลุ่ม



2. ประธาน/กรรมการกลุ่ม/องค์กร จะมีแนวทาง/วิธีการจัดการความรู้สำคัญ 5 เรื่อง/ประเด็นอย่างไร (ผู้เรียนกำหนดเองว่า 5 เรื่อง/ประเด็น มีอะไรบ้าง)

เรื่อง/ประเด็นความรู้ที่สำคัญ
แนวทาง/วิธีการจัดการความรู้
การวางแผนงาน
และการจัดตั้งกลุ่ม
การกำหนดวัตถุประสงค์ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์โครงการ
การกำหนดกฎระเบียบ และข้อบังคับของกลุ่ม
การให้ความรู้แก้ผู้ที่สนใจก่อนการจัดตั้งกลุ่ม
การหาแนวทางสร้างรายได้
ศึกษาวิธีการผลิตที่จะทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่ามาก ผลิตอย่างถูกต้อง และเหมาะสมต่อพื้นที่ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้คุ้มค่า เอาใจใส่ในกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดี
การบูรณาการในด้นต่างๆ
ใช้ความรู้ที่เกิด จากหลากหลาย สหสาขาวิชา
สมาชิกในกลุ่ม
สมาชิกในกลุ่มต้องช่วยเหลือซึ่งกันและกัน เพื่อสร้างความสามัคคีภายในกลุ่มรู้จักพึ่งพาตนเอง การมีส่วนร่วมในการวางแผน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผลประโยชน์ ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับอย่าเคร่งครัด
กระบวนการดำเนินงาน
วางแผนทุกงานทุกกิจกรรมเพื่อให้ผลการดดำเนินงานเสร็จขามแผนและระยะเวลาที่กำหนด


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น